ประเมินครูผู้ช่วย

แบบประเมินการเตรียมความพร้อมและพัฒนาอย่างเข้ม
ตำแหน่งครูผู้ช่วย

นายพงศ์ศิริ ธรรมวุฒิ
วิทยาลัยเทคนิคกำแพงเพชร สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา

1. วินัยและการรักษาวินัย

                1.1 การแสดงออกทางอารมณ์ กริยา ท่าทาง และการสื่อสารได้ เหมาะสมกับกาลเทศะต่อผู้เรียน

                1.2 การแสดงออกทางอารมณ์ กริยา ท่าทาง และการสื่อสารได้ เหมาะสมกับกาลเทศะต่อผู้บังคับ บัญชาเพื่อนร่วมงาน ผู้ปกครอง และบุคคลอื่น

                1.3 การมีเจตคติเชิงบวกกับประเทศชาติ

                1.4 การปฏิบัติตามกฎระเบียบหลักเกณฑ์ที่เกี่ยวข้องกับความเป็น ข้าราชการ

                1.5 การปฏิบัติตามกฎหมายระเบียบ แบบแผน หลักเกณฑ์ และวิธีการ ปฏิบัติราชการ

                1.6 การปฏิบัติตามกฏหมาย

           2. คุณธรรม จริยธรรม

                2.1 การปฏิบัติตนตามหลักศาสนาที่ นับถืออย่างเคร่งครัด

                2.2 การเข้าร่วม ส่งเสริม สนับสนุน ศาสนกิจของศาสนาที่นับถืออย่างสม่ำเสมอ

                2.3 การเห็นความสำคัญ เข้าร่วมส่งเสริม สนับสนุน เคารพ กิจกรรมที่แสดง ถึงจารีตประเพณี วัฒนธรรมท้องถิ่นหรือชุมชน

                2.4 การเห็นความสำคัญ เข้าร่วม ส่งเสริมสนันสนุน กิจกรรมที่แสดงถึงจารีต ประเพณีวัฒนธรรมของชาติ

                2.5 การมีจิตบริการและจิตสาธารณะ

                2.6 การต่อต้านการกระทำของบุคคลหรือกลุ่มบุคคลที่ส่งผลต่อความมั่นคงของชาติหรือผลกระทบเชิงลบต่อสังคมโดยรวม

           3. จรรยาบรรณวิชาชีพ

                3.1 การพัฒนาวิชาชีพและบุคลิกภาพอย่างต่อเนื่อง

                3.2 การมีวิสัยทัศน์ รู้และเข้าใจ สนใจ ติดตามความเปลี่ยนแปลง ด้านวิทยาการ เศรษฐกิจ สังคม การเมืองของไทย และนานาชาติ ในปัจจุบัน

                3.3 การไม่อาศัยวิชาชีพแสวงหาผลประโยชน์ที่ไม่ถูกต้อง

                3.4 การมุ่งมั่นต่อการพัฒนาความรู้ความสามารถของผู้เรียน

                3.5 การให้ความสำคัญต่อการเข้าร่วม ส่งเสริม สนับสนุนกิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับ วิชาชีพครูอย่างสม่ำเสมอ

                3.6 รัก เมตตา เอาใจใส่ ช่วยเหลือ ส่งเสริม สนับสนุน ให้บริการผู้เรียน ทุกคน ด้วยความเสมอภาค

                3.7 การประพฤติปฏิบัติ ตนเป็นที่ยอมรับของผู้เรียน ผู้บริหาร เพื่อนร่วมงาน ผู้ปกครอง และชุมชน

                3.8 การไม่ปฏิบัติตนที่ ส่งผลเชิงลบต่อกายและใจ ของผู้เรียน

                3.9 การทำงานกับผู้อื่นได้โดยยึดหลัก ความสามัคคี เกื้อกูลซึ่งกันและกัน

                3.10 การใช้ความรู้ความสามารถที่มีอยู่ นำให้ เกิดความเปลี่ยนแปลงในทางพัฒนาให้กับ ผู้เรียน โรงเรียนหรือชุมชนในด้านใดด้านหนึ่ง (ด้านการอนุรักษ์ศิลปวัฒนธรรม ภูมิปัญญา และสิ่งแวดล้อม

                3.11 การยึดมั่นในการปกครอง ระบอบประชาธิปไตยอันมี พระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข

           4. การดำรงชีวิตตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง

                4.1 มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับ หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง

                4.2 มีการนำหลักปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพียงไปปรับประยุกต์ ใช้ กับการจัดการเรียนรู้ในห้องเรียน

                4.3 มีการนำหลักปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพียงไปปรับประยุกต์ใช้ กับภารกิจที่ได้รับมอบหมาย

                4.4 มีการนำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพียงไปปรับประยุกต์ใช้กับการ ดำรงชีวิตของตนเอง

                4.5 เป็นแบบอย่างในการนำหลัก ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงไปปรับ ประยุกต์ใช้กับภารกิจต่าง ๆหรือการ ดำรงชีวิตของตน

           5. จิตวิญญาณความเป็นครู

                5.1 การเข้าสอนตรงเวลาและสอนเต็มเวลา

                5.2 การตระหนักในความรู้และทักษะที่ถูกต้องรวมถึงสิ่งที่ดีๆ ให้กับผู้เรียน

                5.3 การสร้างความเสมอภาคเป็นธรรมกับผู้เรียนทุกคน

                5.4 การรู้จักให้อภัย ปราศจากอคติ ช่วยเหลือ ส่งเสริม สนับสนุนให้ผู้เรียนประสบความสำเร็จ ตามศักยภาพความสนใจ หรือความตั้งใจ

                5.5 การเป็นที่พึ่งให้กับผู้เรียนได้ตลอดเวลา

                5.6 การจัดกิจกรรมส่งเสริมการใฝ่รู้ ค้นหา สร้างสรรค์ถ่ายทอด ปลูกฝังและเป็นแบบอย่างที่ดีของผู้เรียน

                5.7 การทุ่มเทเสียสละในการจัดการเรียนรู้ให้กับผู้เรียน

          6. จิตสำนึกความรับผิดชอบในวิชาชีพครู

                6.1 การมีเจตคติเชิงบวกกับวิชาชีพ

                6.2 การมุ่งมั่น ทุ่มเทในการสร้างสรรค์ นวัตกรรม ใหม่ๆ เพื่อให้เกิดการพัฒนาวิชาชีพและให้สังคมยอมรับ

                6.3 ประพฤติปฏิบัติตนในการรักษาภาพลักษณ์ในวิชาชีพ

                6.4 การปกป้อง ป้องกันมิให้ผู้ร่วมวิชาชีพประพฤติปฏิบัติในทางที่จะเกิดภาพลักษณ์เชิงลบต่อวิชาชีพ

                6.5 การจัดกิจกรรมส่งเสริมการใฝ่รู้ค้นหาสร้างสรรค์ ถ่ายทอดปลูกฝังและเป็นแบบอย่างที่ดีของเพื่อนร่วมงานและสังคม

1. การจัดการเรียนการสอน

                1.1 การนำผลการวิเคราะห์หลักสูตรมาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด หรือผลการเรียนรู้ มาใช้ในการจัดทำรายวิชาและออกแบบหน่วยการเรียนรู้

                1.2 การออกแบบการจัดการเรียนรู้ โดยเน้นผู้เรียน เป็นสำคัญเพื่อให้ผู้เรียนมีความรู้ ทักษะ คุณลักษณะ ประจำวิชา คุณลักษณะอันพึงประสงค์ และสมรรถนะ
ที่สำคัญตามหลักสูตร

                1.3 การจัดกิจกรรมการเรียนรู้อำนวยความสะดวก ในการเรียนรู้ และส่งเสริมการเรียนรู้ ด้วยวิธีการ ที่หลากหลาย โดยเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ

                1.4 การเลือกและใช้สื่อ เทคโนโลยี และแหล่งเรียนรู้ ที่สอดคล้องกับกิจกรรมการเรียนรู้

                1.5 การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ด้วยวิธีการที่หลากหลาย เหมาะสม และสอดคล้องกับตัวชี้วัดและจุดประสงค์การเรียนรู้

                1.6 คุณภาพผู้เรียน ได้แก่

                      1) ผลสัมฤทธิ์ทางวิชาการของผู้เรียน

                      2) คุณลักษณะที่พึ่งประสงค์ของผู้เรียน

         2. การบริหารจัดการชั้นเรียน

                2.1 การจัดบรรยากาศที่ส่งเสริมการเรียนรู้ กระบวนการคิด ทักษะชีวิตและพัฒนาผู้เรียน

                2.2 การดำเนินการตามระบบดูแลช่วยเหลือผู้เรียนโดยมี การศึกษาและรวบรวมข้อมูลผู้เรียนรายบุคคล เพื่อแก้ปัญหาและพัฒนาผู้เรียน

                2.3 การอบรมบ่มนิสัยให้ผู้เรียนมีคุณธรรม จริยธรรม คุณลักษณะอันพึงประสงค์ และค่านิยมที่ดีงาม

         3. การพัฒนาตนเอง

                3.1 การพัฒนาตนเองเพื่อให้มีความรู้ ความสามารถ ทักษะ ด้วยวิธีการต่างๆ อย่างเหมาะสม

                3.2 การมีส่วนร่วมในชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ

          4. การทำงานเป็นทีม

                4.1 หลักการทำงานเป็นทีม

                4.2 การพัฒนาทีมงาน

          5. งานกิจกรรมตามภารกิจบริหารงานของสถานศึกษา

                5.1 มีความรู้ความเข้าใจภาระงานของสถานศึกษาเกี่ยวกับงานบริหาร ทั่วไปหรืองานบริหารวิชาการ หรืองานกิจการนักเรียน หรืองานบริหาร งบประมาณหรืองานบริหารทรัพยากรบุคคล และมีส่วนร่วมปฏิบัติงานที่ ได้รับมอบหมาย ได้อย่างเหมาะสม

           6. การใช้ภาษาและเทคโนโลยี

                6.1 สามารถใช้ภาษาและเทคโนโลยีในการ ปฏิบัติงานตามหน้าที่และความรับผิดชอบ

1. วินัยและการรักษาวินัย

                1.1 การแสดงออกทางอารมณ์ กริยา ท่าทาง และการสื่อสารได้ เหมาะสมกับกาลเทศะต่อผู้เรียน

                1.2 การแสดงออกทางอารมณ์ กริยา ท่าทาง และการสื่อสารได้ เหมาะสมกับกาลเทศะต่อผู้บังคับ บัญชาเพื่อนร่วมงาน ผู้ปกครอง และบุคคลอื่น

                1.3 การมีเจตคติเชิงบวกกับประเทศชาติ

                1.4 การปฏิบัติตามกฎระเบียบหลักเกณฑ์ที่เกี่ยวข้องกับความเป็น ข้าราชการ

                1.5 การปฏิบัติตามกฎหมายระเบียบ แบบแผน หลักเกณฑ์ และวิธีการ ปฏิบัติราชการ

                1.6 การปฏิบัติตามกฏหมาย

           2. คุณธรรม จริยธรรม

                2.1 การปฏิบัติตนตามหลักศาสนาที่ นับถืออย่างเคร่งครัด

                2.2 การเข้าร่วม ส่งเสริม สนับสนุน ศาสนกิจของศาสนาที่นับถืออย่างสม่ำเสมอ

                2.3 การเห็นความสำคัญ เข้าร่วมส่งเสริม สนับสนุน เคารพ กิจกรรมที่แสดง ถึงจารีตประเพณี วัฒนธรรมท้องถิ่นหรือชุมชน

                2.4 การเห็นความสำคัญ เข้าร่วม ส่งเสริมสนันสนุน กิจกรรมที่แสดงถึงจารีต ประเพณีวัฒนธรรมของชาติ

                2.5 การมีจิตบริการและจิตสาธารณะ

                2.6 การต่อต้านการกระทำของบุคคลหรือกลุ่มบุคคลที่ส่งผลต่อความมั่นคงของชาติหรือผลกระทบเชิงลบต่อสังคมโดยรวม

           3. จรรยาบรรณวิชาชีพ

                3.1 การพัฒนาวิชาชีพและบุคลิกภาพอย่างต่อเนื่อง

                3.2 การมีวิสัยทัศน์ รู้และเข้าใจ สนใจ ติดตามความเปลี่ยนแปลง ด้านวิทยาการ เศรษฐกิจ สังคม การเมืองของไทย และนานาชาติ ในปัจจุบัน

                3.3 การไม่อาศัยวิชาชีพแสวงหาผลประโยชน์ที่ไม่ถูกต้อง

                3.4 การมุ่งมั่นต่อการพัฒนาความรู้ความสามารถของผู้เรียน

                3.5 การให้ความสำคัญต่อการเข้าร่วม ส่งเสริม สนับสนุนกิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับ วิชาชีพครูอย่างสม่ำเสมอ

                3.6 รัก เมตตา เอาใจใส่ ช่วยเหลือ ส่งเสริม สนับสนุน ให้บริการผู้เรียน ทุกคน ด้วยความเสมอภาค

                3.7 การประพฤติปฏิบัติ ตนเป็นที่ยอมรับของผู้เรียน ผู้บริหาร เพื่อนร่วมงาน ผู้ปกครอง และชุมชน

                3.8 การไม่ปฏิบัติตนที่ ส่งผลเชิงลบต่อกายและใจ ของผู้เรียน

                3.9 การทำงานกับผู้อื่นได้โดยยึดหลัก ความสามัคคี เกื้อกูลซึ่งกันและกัน

                3.10 การใช้ความรู้ความสามารถที่มีอยู่ นำให้เกิดความเปลี่ยนแปลงในทางพัฒนาให้กับผู้เรียน โรงเรียนหรือชุมชนในด้านใดด้านหนึ่ง (ด้านการอนุรักษ์ศิลปวัฒนธรรม ภูมิปัญญา และสิ่งแวดล้อม

                3.11 การยึดมั่นในการปกครอง ระบอบประชาธิปไตยอันมี พระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข

           4. การดำรงชีวิตตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง

                4.1 มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับ หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง

                4.2 มีการนำหลักปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพียงไปปรับประยุกต์ ใช้ กับการจัดการเรียนรู้ในห้องเรียน

                4.3 มีการนำหลักปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพียงไปปรับประยุกต์ใช้ กับภารกิจที่ได้รับมอบหมาย

                4.4 มีการนำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพียงไปปรับประยุกต์ใช้กับการ ดำรงชีวิตของตนเอง

                4.5 เป็นแบบอย่างในการนำหลัก ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงไปปรับ ประยุกต์ใช้กับภารกิจต่าง ๆหรือการ ดำรงชีวิตของตน

           5. จิตวิญญาณความเป็นครู

                5.1 การเข้าสอนตรงเวลาและสอนเต็มเวลา

                5.2 การตระหนักในความรู้และทักษะที่ถูกต้องรวมถึงสิ่งที่ดีๆ ให้กับผู้เรียน

                5.3 การสร้างความเสมอภาคเป็นธรรมกับผู้เรียนทุกคน

                5.4 การรู้จักให้อภัย ปราศจากอคติ ช่วยเหลือ ส่งเสริม สนับสนุนให้ผู้เรียนประสบความสำเร็จ ตามศักยภาพความสนใจ หรือความตั้งใจ

                5.5 การเป็นที่พึ่งให้กับผู้เรียนได้ตลอดเวลา

                5.6 การจัดกิจกรรมส่งเสริมการใฝ่รู้ ค้นหา สร้างสรรค์ถ่ายทอด ปลูกฝังและเป็นแบบอย่างที่ดีของผู้เรียน

                5.7 การทุ่มเทเสียสละในการจัดการเรียนรู้ให้กับผู้เรียน

          6. จิตสำนึกความรับผิดชอบในวิชาชีพครู

                6.1 การมีเจตคติเชิงบวกกับวิชาชีพ

                6.2 การมุ่งมั่น ทุ่มเทในการสร้างสรรค์ นวัตกรรม ใหม่ๆ เพื่อให้เกิดการพัฒนาวิชาชีพและให้สังคมยอมรับ

                6.3 ประพฤติปฏิบัติตนในการรักษาภาพลักษณ์ในวิชาชีพ

                6.4 การปกป้อง ป้องกันมิให้ผู้ร่วมวิชาชีพประพฤติปฏิบัติในทางที่จะเกิดภาพลักษณ์เชิงลบต่อวิชาชีพ

                6.5 การจัดกิจกรรมส่งเสริมการใฝ่รู้ค้นหาสร้างสรรค์ ถ่ายทอดปลูกฝังและเป็นแบบอย่างที่ดีของเพื่อนร่วมงานและสังคม

1. การจัดการเรียนการสอน

                1.1 การนำผลการวิเคราะห์หลักสูตรมาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด หรือผลการเรียนรู้ มาใช้ในการจัดทำรายวิชาและออกแบบหน่วยการเรียนรู้

                1.2 การออกแบบการจัดการเรียนรู้ โดยเน้นผู้เรียน เป็นสำคัญเพื่อให้ผู้เรียนมีความรู้ ทักษะ คุณลักษณะ ประจำวิชา คุณลักษณะอันพึงประสงค์ และสมรรถนะ
ที่สำคัญตามหลักสูตร

                1.3 การจัดกิจกรรมการเรียนรู้อำนวยความสะดวก ในการเรียนรู้ และส่งเสริมการเรียนรู้ ด้วยวิธีการ ที่หลากหลาย โดยเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ

                1.4 การเลือกและใช้สื่อ เทคโนโลยี และแหล่งเรียนรู้ ที่สอดคล้องกับกิจกรรมการเรียนรู้

                1.5 การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ด้วยวิธีการที่หลากหลาย เหมาะสม และสอดคล้องกับตัวชี้วัดและจุดประสงค์การเรียนรู้

                1.6 คุณภาพผู้เรียน ได้แก่

                      1) ผลสัมฤทธิ์ทางวิชาการของผู้เรียน

                      2) คุณลักษณะที่พึ่งประสงค์ของผู้เรียน

         2. การบริหารจัดการชั้นเรียน

                2.1 การจัดบรรยากาศที่ส่งเสริมการเรียนรู้ กระบวนการคิด ทักษะชีวิตและพัฒนาผู้เรียน

                2.2 การดำเนินการตามระบบดูแลช่วยเหลือผู้เรียนโดยมี การศึกษาและรวบรวมข้อมูลผู้เรียนรายบุคคล เพื่อแก้ปัญหาและพัฒนาผู้เรียน

                2.3 การอบรมบ่มนิสัยให้ผู้เรียนมีคุณธรรม จริยธรรม คุณลักษณะอันพึงประสงค์ และค่านิยมที่ดีงาม

         3. การพัฒนาตนเอง

                3.1 การพัฒนาตนเองเพื่อให้มีความรู้ ความสามารถ ทักษะ ด้วยวิธีการต่างๆ อย่างเหมาะสม

                3.2 การมีส่วนร่วมในชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ

          4. การทำงานเป็นทีม

                4.1 หลักการทำงานเป็นทีม

                4.1 หลักการทำงานเป็นทีม

          5. งานกิจกรรมตามภารกิจบริหารงานของสถานศึกษา

                5.1 มีความรู้ความเข้าใจภาระงานของสถานศึกษาเกี่ยวกับงานบริหาร ทั่วไปหรืองานบริหารวิชาการ หรืองานกิจการนักเรียน หรืองานบริหาร งบประมาณหรืองานบริหารทรัพยากรบุคคล และมีส่วนร่วมปฏิบัติงานที่ ได้รับมอบหมาย ได้อย่างเหมาะสม

           6. การใช้ภาษาและเทคโนโลยี

                6.1 สามารถใช้ภาษาและเทคโนโลยีในการ ปฏิบัติงานตามหน้าที่และความรับผิดชอบ

1. วินัยและการรักษาวินัย

1.1 การแสดงออกทางอารมณ์ กริยา ท่าทาง และการสื่อสารได้ เหมาะสมกับกาลเทศะต่อผู้เรียน

1. วินัยและการรักษาวินัย

1.1 การแสดงออกทางอารมณ์ กริยา ท่าทาง และการสื่อสารได้ เหมาะสมกับกาลเทศะต่อผู้เรียน